TH
MM
หน้าหลัก
บริการของเรา
ฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
แพทย์ประจำตัวโรคเบาหวานและความดัน
ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ใบรับรองแพทย์
ใบรับรองแพทย์ 5 โรค สมัครงาน,ทำใบขับขี่
ใบรับรองแพทย์ผู้สัมผัสอาหาร (10 โรค)
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างชาติ (Work Permit Program)
ตรวจสุขภาพใบรับรองแพทย์เพื่อศึกษาต่อ
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว (ตรวจสุขภาพต่างด้าว)
ตรวจนรีเวชสำหรับสุภาพสตรี
ฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิด
จี้หูด/ตัดติ่งเนื้อ/ฉีดคีลอยด์
ฉีดวัคซีน
วัคซีนเด็ก
วัคซีนผู้ใหญ่
วัคซีนพิษสุนัขบ้า
วัคซีนโรคบาดทะยัก
บริการฉีดวัคซีนที่บ้าน
ฉีดวัคซีนองค์กรหรือรายกลุ่ม
ตรวจภายในและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
หาหมอออนไลน์ Telemedicine
ตรวจหาภูมิคุ้มกันโควิด Covid-19
โปรแกรมตรวจสุขภาพ
โปรแกรมตรวจสุขภาพเบาหวาน
โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปีวัยเก๋า
โปรแกรมตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โปรแกรมตรวจเตรียมตัวก่อนบวช
โปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนทำศัลยกรรม
โปรแกรมตรวจสุขภาพไปต่างประเทศ
โปรโมชั่นและแพ็คเกจ
เกี่ยวกับเรา
คลินิกของเรา
เกี่ยวกับเรา
สาขาตลิ่งชัน
สาขาดินแดง
สาขาคลองสาน
สาขาเจริญกรุง
สาขาอุดมสุข
แพทย์ประจำสาขา
ประสบการณ์จากผู้รับบริการ
ข่าวสารและกิจกรรม
แผนที่คลินิก
ติดต่อเรา
คลินิกเวชกรรม
อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรมใกล้บ้านใกล้คุณ
วิธีการค้นหาคลินิกเวชกรรมใกล้บ้าน เมื่อเจ็บป่วยหรือไม่สบาย
ความรู้สุขภาพ
การตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
14 รายการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานที่บริษัทส่วนใหญ่เลือกใช้
8 แนวทางในการเลือกโปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานให้เหมาะสมกับองค์กร
7 เหตุผลที่ต้องตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ขั้นตอนการเข้ารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานกับอินทัชเมดิแคร์
การเตรียมตัวก่อนมารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
สิ่งที่ควรปฏิบัติหลังรับการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
การตรวจสุขภาพประจำปี
คำแนะนำก่อนตรวจสุขภาพประจำปี
การฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
การเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
การฝากครรภ์คุณภาพ
ความสำคัญของการฝากครรภ์
ฝากครรภ์แต่ละครั้งตรวจอะไรบ้าง
การดูแลสุขภาพมารดาช่วงตั้งครรภ์
วัคซีนที่จำเป็นในหญิงตั้งครรภ์
วิธีดูแลสุขภาพหลังคลอด
วิธีเลี้ยงลูกสำหรับคุณแม่มือใหม่
การฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ยาคุมแบบฝังและยาคุมแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร
12 ข้อดีของยาฝังคุมกำเนิด มีอะไรบ้าง
ข้อควรคำนึงก่อนฝังยาคุม
แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวหลังการฝังยาคุม
ถอดเข็มยาคุมแบบฝังต้องพิจารณาเรื่องอะไรบ้าง
หลังถอดเข็มต้องปฏิบัติตัวอย่างไร
ยาคุมกำเนิดแบบฝัง vs การทำหมัน แบบไหนป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดีกว่ากัน
ฉีดยาคุมกำเนิด
ข้อแตกต่างระหว่างฉีดยาคุมกับกินยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิดแบบ 1 เดือน กับ 3 เดือน ควรเลือกแบบไหน
ข้อแตกต่างระหว่างยาคุมแบบฉีดกับฝังยาคุม
การฉีดยาคุมกำเนิดมีข้อดีหรือข้อควรระวังอย่างไรบ้าง
วิธีการปฏิบัติตัวหลังการฉีดยาคุมกำเนิด
บทความน่ารู้เพื่อคุณ
บทความสุขภาพ
ลูกค้าองค์กร
Med refer
MED REFER คืออะไร
Med refer เข้าสู่ระบบ
Med refer ตรวจสอบผลตรวจ
เพิ่มเติม
หน้าหลัก
บริการของเรา
ฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
แพทย์ประจำตัวโรคเบาหวานและความดัน
ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ใบรับรองแพทย์
ใบรับรองแพทย์ 5 โรค สมัครงาน,ทำใบขับขี่
ใบรับรองแพทย์ผู้สัมผัสอาหาร (10 โรค)
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างชาติ (Work Permit Program)
ตรวจสุขภาพใบรับรองแพทย์เพื่อศึกษาต่อ
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว (ตรวจสุขภาพต่างด้าว)
ตรวจนรีเวชสำหรับสุภาพสตรี
ฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิด
จี้หูด/ตัดติ่งเนื้อ/ฉีดคีลอยด์
ฉีดวัคซีน
วัคซีนเด็ก
วัคซีนผู้ใหญ่
วัคซีนพิษสุนัขบ้า
วัคซีนโรคบาดทะยัก
บริการฉีดวัคซีนที่บ้าน
ฉีดวัคซีนองค์กรหรือรายกลุ่ม
ตรวจภายในและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
หาหมอออนไลน์ Telemedicine
ตรวจหาภูมิคุ้มกันโควิด Covid-19
โปรแกรมตรวจสุขภาพ
โปรแกรมตรวจสุขภาพเบาหวาน
โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปีวัยเก๋า
โปรแกรมตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โปรแกรมตรวจเตรียมตัวก่อนบวช
โปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนทำศัลยกรรม
โปรแกรมตรวจสุขภาพไปต่างประเทศ
โปรโมชั่นและแพ็คเกจ
เกี่ยวกับเรา
คลินิกของเรา
เกี่ยวกับเรา
สาขาตลิ่งชัน
สาขาดินแดง
สาขาคลองสาน
สาขาเจริญกรุง
สาขาอุดมสุข
แพทย์ประจำสาขา
ประสบการณ์จากผู้รับบริการ
ข่าวสารและกิจกรรม
แผนที่คลินิก
ติดต่อเรา
คลินิกเวชกรรม
อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรมใกล้บ้านใกล้คุณ
วิธีการค้นหาคลินิกเวชกรรมใกล้บ้าน เมื่อเจ็บป่วยหรือไม่สบาย
ความรู้สุขภาพ
การตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
14 รายการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานที่บริษัทส่วนใหญ่เลือกใช้
8 แนวทางในการเลือกโปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานให้เหมาะสมกับองค์กร
7 เหตุผลที่ต้องตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ขั้นตอนการเข้ารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานกับอินทัชเมดิแคร์
การเตรียมตัวก่อนมารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
สิ่งที่ควรปฏิบัติหลังรับการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
การตรวจสุขภาพประจำปี
คำแนะนำก่อนตรวจสุขภาพประจำปี
การฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
การเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
การฝากครรภ์คุณภาพ
ความสำคัญของการฝากครรภ์
ฝากครรภ์แต่ละครั้งตรวจอะไรบ้าง
การดูแลสุขภาพมารดาช่วงตั้งครรภ์
วัคซีนที่จำเป็นในหญิงตั้งครรภ์
วิธีดูแลสุขภาพหลังคลอด
วิธีเลี้ยงลูกสำหรับคุณแม่มือใหม่
การฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ยาคุมแบบฝังและยาคุมแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร
12 ข้อดีของยาฝังคุมกำเนิด มีอะไรบ้าง
ข้อควรคำนึงก่อนฝังยาคุม
แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวหลังการฝังยาคุม
ถอดเข็มยาคุมแบบฝังต้องพิจารณาเรื่องอะไรบ้าง
หลังถอดเข็มต้องปฏิบัติตัวอย่างไร
ยาคุมกำเนิดแบบฝัง vs การทำหมัน แบบไหนป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดีกว่ากัน
ฉีดยาคุมกำเนิด
ข้อแตกต่างระหว่างฉีดยาคุมกับกินยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิดแบบ 1 เดือน กับ 3 เดือน ควรเลือกแบบไหน
ข้อแตกต่างระหว่างยาคุมแบบฉีดกับฝังยาคุม
การฉีดยาคุมกำเนิดมีข้อดีหรือข้อควรระวังอย่างไรบ้าง
วิธีการปฏิบัติตัวหลังการฉีดยาคุมกำเนิด
บทความน่ารู้เพื่อคุณ
บทความสุขภาพ
ลูกค้าองค์กร
Med refer
MED REFER คืออะไร
Med refer เข้าสู่ระบบ
Med refer ตรวจสอบผลตรวจ
เพิ่มเติม
TH
MM
มารู้จักคีลอยด์กันเถอะ
Last updated: 2022-03-25
|
960 จำนวนผู้เข้าชม
|
แผลเป็น สิ่งที่ใครก็ไม่อยากเป็น ไม่ว่าจะเป็นแผลไฟไหม้ แผลนูน แผลขนาดเล็ก หรือร่องรอยขนาดใหญ่จากการผ่าตัด เพราะแผลเป็นนั้นทำให้ผิวพรรณดูไม่สวยงาม หรือชวนให้คิดถึงสาเหตุของการเกิดซึ่งบางคนคิดถึงทีไรก็อาจเกิดความเจ็บปวดขึ้นภายในใจ ทำให้มีการคิดค้นวิธีการรักษาแผลเป็นให้หายหรือเบาบางลงหนึ่งในนั้นก็คือการฉีดคีลอยด์ ที่ถือว่าเป็นวิธีการที่ได้ผลน่าพอใจ ส่วนคีลอยด์คืออะไร เกิดจากอะไร และมีวิธีการรักษาอย่างนั้นเรามาดูกันเลย
คีลอยด์ คืออะไร?
คีลอยด์ คือ แผลเป็นชนิดหนึ่งที่มีลักษณะนูน โดยสามารถขยายขอบเขตของแผลออกไปได้มากกว่าแผลเดิม เช่นแผลเป็นจริงยาวเพียง 1 ซม. แต่คีลอยด์กลับใหญ่โตเกือบ 20 ซม. ซึ่งสีของแผลคีลอยด์นั้นก็จะแตกต่างกันออกไป มีทั้งสีคล้ำ สีแดง รอยช้ำ สามารถเกิดขึ้นทันทีที่แผลหายหรือบางกรณีก็เกิดขึ้นหลังจากแผลหายไปได้แล้วสักระยะ แม้จะไม่มีอันตรายร้ายแรงแต่ก็อาจเกิดอาการคัน แสบ หรือเกิดแผลพุพองขึ้นได้หากมีการเกาหรือเสียดสีบ่อยๆ รวมถึงทำให้ผิวพรรณดูไม่สวยงามอีกด้วย
แผลเป็นคีลอยด์เกิดจากอะไร ?
แผลเป็นคีลอยด์นั้นเกิดจากสาเหตุที่แตกต่างกันออกไปหลักๆ แล้วคือกระบวนการรักษาที่เกิดความผิดปกติของร่างกาย ที่ปกติแล้วผิวหนังของเราจะผลิตคอลลาเจนและเนื้อเยื่อขึ้นมาสำหรับการซ่อมแซมส่วนที่เป็นแผลแต่บางครั้งก็ผลิตออกมาเยอะจนเกินไป ทำให้เกิดแผลนูนขึ้นมากกว่าปกติหรือคีย์ลอยด์ โดยอาจมีจุดเริ่มต้นมาจากแผลไฟไหม้ แผลผ่าตัด แผลจากอุบัติเหตุ แผลจากอีสุกอีใส การแกะหรือบีบสิว เป็นต้น
ลักษณะและอาการของการเกิดคีลอยด์
แม้ว่าคีลอยด์จะสามารถเกิดขึ้นได้แทบทุกที่ในร่างกายแต่ส่วนที่มักพบบ่อยที่สุดนั้นจะอยู่บริเวณ ติ่งหู ลำคอ หัวไหล่ หน้าอก และหลัง
แผลเป็นคีลอยด์มักเกิดขึ้นหลังจากการเกิดแผลเป็น(Scar) อาทิ แผลจากการผ่าตัด, แผลไฟไหม้, แผลจากอุบัติเหตุ, แผลจากอีสุกอีใส หรือการแกะสิวจนอักเสบและลุกลาม
ลักษณะของคีลอยด์นั้นในช่วงแรกจะมีสีชมพูหรือไม่ก็สีม่วง จากนั้นสีผิวจะซีดลงหรือเปลี่ยนเป็นสีเข้มเมื่อเวลาผ่านไป และเกิดเป็นแผลนูนขึ้น
บริเวณที่เกิดคีย์ลอยด์ขึ้นมักจะไม่มีขนขึ้น เนื้อผิวมีลักษณะนูนแต่ว่าเรียบเนียน
แผลคีลอยด์ไม่ก่อให้เกิดเกิดอันตรายแต่อาจทำให้มีความรู้สึกแสบคัน เจ็บ ระคายเคือง เมื่อเกิดการเสียดสี โดยเฉพาะในช่วงหน้าหนาวที่อาจมีอาการคันมากเป็นพิเศษ ซึ่งหากเผลอไปเกาบ่อยๆ อาจทำให้ผิวหนังเกิดแผลลุกลามขึ้นได้
หากไม่ทำการรักษาแผลเป็นคีลอยด์อาจคงอยู่ได้หลายปีหรือตลอดไป ส่วนการเกิดนั้นอาจเกิดทันทีเมื่อเป็นแผลเป็นหรือทิ้งช่วงเป็นเวลานานถึงจะเกิดขึ้นก็ได้
การรักษาแผลเป็นคีลอยด์
เราได้ทราบกันไปแล้วว่าคีลอยด์ตคืออะไร เกิดขึ้นจากสาเหตุใด รวมถึงมีลักษณะอย่างไรบ้าง ในส่วนของการรักษาแผลเป็นคีลอยด์นั้น สามารถทำได้หลายวิธีทั้งการทายา การฉีดคีลอยด์ เพื่อลบแผลผ่าตัด แผลไฟไหม้ แผลนูน ให้ลดเลือนลง เรามาดูรายละเอียดของการรักษาคีลอยด์แบบต่างๆ กันเลย
การใช้แผ่นแปะแผลเป็นคีลอยด์ เป็นวิธีที่สามารถลดรอยแผลเป็นนูนได้ทั้งแผลเก่าและแผลใหม่ ด้วยการกักเก็บความชุ่มชื้นให้กับผิวบริเวณที่เกิดเป็นคีลอยด์ ช่วยให้รอยแผลที่นูนราบเรียบลง สีจางลง ซึ่งการใช้แผ่นแปะแผลเป็นคีลอยด์นี้หญิงตั้งครรภ์ก็สามารถใช้ได้
การใช้ยาทาแผลเป็นคีลอยด์ โดยตัวยาที่ใช้นั้นก็จะมีทั้งแบบเจลและแบบครีม วิธีนี้สามารถรักษาแผลจากรอยสิวได้ด้วยการใช้ตัวยารักษาเนื้อเยื่อและลดร่องรอยของแผลที่เกิดขึ้นในบริเวณที่ทายา
การฉีดคีย์ลอย อีกวิธีที่ได้รับความนิยมและได้ผลน่าพอใจก็คือการฉีดคีย์ลอย เป็นการฉีดยาเพื่อรักษาบริเวณที่เกิดคีลอยด์โดยตรง ซึ่งจะหายช้าหรือเร็วนั้นก็ขึ้นอยู่กับการตอบสนองของแผลกับตัวยา โดยปกติแล้วแพทย์จะนัดให้เข้ารับการฉีดยาต่อเนื่องเดือนละครั้ง จนกว่าจะได้ผลการรักษาที่น่าพอใจ
การใช้ความเย็นจัดในการรักษา การใช้ความเย็นจัดเป็นอีกวิธีที่สามารถทำให้แผลคีลอยด์แบนเรียบลงได้ โดยเหมาะกับแผลที่มีขนาดไม่ใหญ่มาก ขั้นตอนการรักษาจะเป็นการให้แผลเป็นรับความเย็นสูงจากสารไนโตรเจนเหลวและมักทำควบคู่กันไปกับการรักษาด้วยวิธีอื่นอาทิการฉีดสเตียรอยด์ เป็นต้น
การผ่าตัดคีลอยด์ สำหรับวิธีนี้คือการผ่าตัดแผลให้มีขนาดที่เล็กลง เป็นวิธีที่รวดเร็วและได้ผลแต่ก็มีข้อจำกัดบางอย่างคือเหมาะกับแผลที่มีขนาดเล็กที่เกิดในส่วนที่สามารถเย็บแผลได้ และต้องทำภายใต้การดูแลของแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญเท่านั้น
ทั้งนี้แผลเป็นคีย์ลอยนั้นมีหลายแบบ หลายขนาด อายุของแผลก็แตกต่างกันออกไป การรักษาจึงจำเป็นที่จะต้องมีการวินิจฉัยจากแพทย์เพื่อรับแนวทางที่เหมาะสมเป็นรายไป เช่นบางรายอาจใช้การฉีดคีลอยด์ บางรายอาจต้องผ่าตัด เป็นต้น สำหรับท่านที่มีปัญหาแผลเป็นคีลอยด์ สามารถเข้ารับการวินิจฉัยและรักษาได้ที่อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรมทุกสาขาใกล้บ้านด้วยการค้นหาจากคลินิกใกล้ฉันใน Google หรือสอบถามผ่านช่องทางบนเว็บไซต์ เรามีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและอุปกรณ์ที่ทันสมัย เพื่อผลการรักษาที่ดีที่สุด ด้วยขั้นตอนที่สะดวกสบายในราคาสบายกระเป๋า
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
Hot Line
081-562-7722 กดโทรออก
@qns9056c
อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรม
ฉีดคีลอยด์
แผลเป็น
ฉีดยา
แผลนูน
แผลไฟไหม้
ลบแผลผ่าตัด
ใกล้ฉัน
ခီလွယ်(Keloids)
အမာရွတ်
ဆေးထိုးခြင်း
မီးလောင်ဒဏ်ရာ
ခွဲစိတ်ဒဏ်ရာ
သင်နှင့်နီးသော
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
การดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน
2022-03-22
10 อันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศ
2022-05-06
ลูกค้าของเรา
2022-05-03
บริการตรวจโรคติดต่อ STD เช็คเพื่อชัวร์
2022-03-25