TH
MM
EN
หน้าหลัก
บริการของเรา
ตรวจรักษาโรคทั่วไป
ล้างแผล ทำแผล
เย็บแผล
ตัดไหม
ให้น้ำเกลือ
รักษาไข้หวัดใหญ่
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ตากุ้งยิง
ไข้เลือดออก
โรคไทรอยด์
วัณโรค
เวียนหัวบ้านหมุน
ตรวจภูมิแพ้อาหารและสิ่งแวดล้อม
ฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
ตรวจการตั้งครรภ์
ฝากครรภ์ ฝากท้อง ราคาสบายกระเป๋า
ตรวจหลังคลอด
คลินิกเบาหวาน คลินิกความดันโลหิตสูง
ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ใบรับรองแพทย์
ใบรับรองแพทย์ 5 โรค
ใบรับรองแพทย์ ทำใบขับขี่
ใบรับรองแพทย์ผู้สัมผัสอาหาร (10 โรค)
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างชาติ (Work Permit Program)
ตรวจสุขภาพใบรับรองแพทย์ สมัครเรียน
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว (ตรวจสุขภาพต่างด้าว)
ตรวจนรีเวชสำหรับสุภาพสตรี
ต่อมบาร์โธลินอักเสบ
เชื้อราในช่องคลอด
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตรวจเลือด HIV
โรคเริม
โรคหูดหงอนไก่
โรคหนองใน
โรคซิฟิลิส
โรคพยาธิในช่องคลอด
วางแผนครอบครัว
ฝังยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิด
ใส่ห่วงคุมกำเนิดและถอดห่วงคุมกำเนิด
ใส่ห่วงคุมกำเนิด (ห่วงอนามัย)
ถอดห่วงคุมกําเนิด
จี้หูด/ตัดติ่งเนื้อ/ฉีดคีลอยด์
ฉีดวัคซีน
วัคซีนเด็ก
วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก
วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
วัคซีนพิษสุนัขบ้า
วัคซีนบาดทะยัก
บริการฉีดวัคซีนที่บ้าน
ฉีดวัคซีนองค์กรหรือรายกลุ่ม
ตรวจภายในและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ตรวจภายในผู้ชาย
เชื้อราอวัยวะเพศชาย
หาหมอออนไลน์ Telemedicine
ตรวจหาภูมิคุ้มกันโควิด Covid-19
โปรแกรมตรวจสุขภาพ
โปรแกรมตรวจสุขภาพเบาหวาน
โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปีวัยเก๋า
โปรแกรมตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โปรแกรมตรวจเตรียมตัวก่อนบวช
โปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนทำศัลยกรรม
โปรแกรมตรวจสุขภาพไปต่างประเทศ
ตรวจสุขภาพไปทำงานญี่ปุ่น ทักษะเฉพาะทาง
ตรวจสุขภาพออแพร์ Au Pair
โปรโมชั่นและแพ็คเกจ
ตรวจสุขภาพประจำปีแบบเคลื่อนที่ Mobile Check up
ยาเพร็พ (HIV PrEP) ,ยาเป๊ป (HIV PEP)
ยาเพร็พ (HIV PrEP)
ยาเป๊ป (HIV PEP)
บริการเฉพาะทาง
เอาฟองน้ำอนามัยออกจากช่องคลอด
ถุงยางหลุดคาช่องคลอด
เกี่ยวกับเรา
คลินิกของเรา
เกี่ยวกับเรา
สาขาตลิ่งชัน
สาขาดินแดง
สาขาคลองสาน
สาขาเจริญกรุง
สาขาอุดมสุข
สาขารามอินทรา กม.2
สาขาลาดพร้าว-ห้วยขวาง
แพทย์ประจำสาขา
ประสบการณ์จากผู้รับบริการ
ข่าวสารและกิจกรรม
แผนที่คลินิก
สาขาทั้งหมดที่เปิดให้บริการ
ติดต่อเรา
ขั้นตอนการส่ง plus code
คลินิกเวชกรรม
อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรมใกล้บ้านใกล้คุณ
วิธีการค้นหาคลินิกเวชกรรมใกล้บ้าน เมื่อเจ็บป่วยหรือไม่สบาย
คลินิกใกล้ฉัน ตรวจรักษาโรคทั่วไป
ความรู้สุขภาพ
การตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
14 รายการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานที่บริษัทส่วนใหญ่เลือกใช้
8 แนวทางในการเลือกโปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานให้เหมาะสมกับองค์กร
7 เหตุผลที่ต้องตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ขั้นตอนการเข้ารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานกับอินทัชเมดิแคร์
การเตรียมตัวก่อนมารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
สิ่งที่ควรปฏิบัติหลังรับการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
การตรวจสุขภาพประจำปี
คำแนะนำก่อนตรวจสุขภาพประจำปี
การฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
การเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
การฝากครรภ์คุณภาพ
ความสำคัญของการฝากครรภ์
ฝากครรภ์แต่ละครั้งตรวจอะไรบ้าง
การดูแลสุขภาพมารดาช่วงตั้งครรภ์
วัคซีนที่จำเป็นในหญิงตั้งครรภ์
วิธีดูแลสุขภาพหลังคลอด
วิธีเลี้ยงลูกสำหรับคุณแม่มือใหม่
การฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ยาคุมแบบฝังและยาคุมแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร
ก่อนฝังยาคุม มีข้อควรระวังอะไรบ้าง
หลังฝังยาคุม มีวิธีการปฏิบัติตัวอย่างไรบ้าง
ผลข้างเคียงฝังยาคุมกำเนิด เสี่ยงต่อสุขภาพไหม?
ก่อนถอดเข็มยาคุม ต้องพิจารณาเรื่องอะไรบ้าง
หลังถอดเข็มต้องปฏิบัติตัวอย่างไร
ยาคุมกำเนิดแบบฝัง vs การทำหมัน แบบไหนป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดีกว่ากัน
ฉีดยาคุมกำเนิด
ข้อแตกต่างระหว่างฉีดยาคุมกับกินยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิดแบบ 1 เดือน กับ 3 เดือน ควรเลือกแบบไหน
ข้อแตกต่างระหว่างยาคุมแบบฉีดกับฝังยาคุม
การฉีดยาคุมกำเนิดมีข้อดีหรือข้อควรระวังอย่างไรบ้าง
หลังฉีดยาคุม มีวิธีการปฏิบัติตัวอย่างไร
บทความ
บทความน่ารู้เพื่อคุณ
เรื่องดีดีมีสาระ
บทความสุขภาพ
ลูกค้าองค์กร
Med refer
MED REFER คืออะไร
Med refer เข้าสู่ระบบ
Med refer ตรวจสอบผลตรวจ
เพิ่มเติม
หน้าหลัก
บริการของเรา
ตรวจรักษาโรคทั่วไป
ล้างแผล ทำแผล
เย็บแผล
ตัดไหม
ให้น้ำเกลือ
รักษาไข้หวัดใหญ่
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ตากุ้งยิง
ไข้เลือดออก
โรคไทรอยด์
วัณโรค
เวียนหัวบ้านหมุน
ตรวจภูมิแพ้อาหารและสิ่งแวดล้อม
ฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
ตรวจการตั้งครรภ์
ฝากครรภ์ ฝากท้อง ราคาสบายกระเป๋า
ตรวจหลังคลอด
คลินิกเบาหวาน คลินิกความดันโลหิตสูง
ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ใบรับรองแพทย์
ใบรับรองแพทย์ 5 โรค
ใบรับรองแพทย์ ทำใบขับขี่
ใบรับรองแพทย์ผู้สัมผัสอาหาร (10 โรค)
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างชาติ (Work Permit Program)
ตรวจสุขภาพใบรับรองแพทย์ สมัครเรียน
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว (ตรวจสุขภาพต่างด้าว)
ตรวจนรีเวชสำหรับสุภาพสตรี
ต่อมบาร์โธลินอักเสบ
เชื้อราในช่องคลอด
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตรวจเลือด HIV
โรคเริม
โรคหูดหงอนไก่
โรคหนองใน
โรคซิฟิลิส
โรคพยาธิในช่องคลอด
วางแผนครอบครัว
ฝังยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิด
ใส่ห่วงคุมกำเนิดและถอดห่วงคุมกำเนิด
ใส่ห่วงคุมกำเนิด (ห่วงอนามัย)
ถอดห่วงคุมกําเนิด
จี้หูด/ตัดติ่งเนื้อ/ฉีดคีลอยด์
ฉีดวัคซีน
วัคซีนเด็ก
วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก
วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
วัคซีนพิษสุนัขบ้า
วัคซีนบาดทะยัก
บริการฉีดวัคซีนที่บ้าน
ฉีดวัคซีนองค์กรหรือรายกลุ่ม
ตรวจภายในและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ตรวจภายในผู้ชาย
เชื้อราอวัยวะเพศชาย
หาหมอออนไลน์ Telemedicine
ตรวจหาภูมิคุ้มกันโควิด Covid-19
โปรแกรมตรวจสุขภาพ
โปรแกรมตรวจสุขภาพเบาหวาน
โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปีวัยเก๋า
โปรแกรมตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โปรแกรมตรวจเตรียมตัวก่อนบวช
โปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนทำศัลยกรรม
โปรแกรมตรวจสุขภาพไปต่างประเทศ
ตรวจสุขภาพไปทำงานญี่ปุ่น ทักษะเฉพาะทาง
ตรวจสุขภาพออแพร์ Au Pair
โปรโมชั่นและแพ็คเกจ
ตรวจสุขภาพประจำปีแบบเคลื่อนที่ Mobile Check up
ยาเพร็พ (HIV PrEP) ,ยาเป๊ป (HIV PEP)
ยาเพร็พ (HIV PrEP)
ยาเป๊ป (HIV PEP)
บริการเฉพาะทาง
เอาฟองน้ำอนามัยออกจากช่องคลอด
ถุงยางหลุดคาช่องคลอด
เกี่ยวกับเรา
คลินิกของเรา
เกี่ยวกับเรา
สาขาตลิ่งชัน
สาขาดินแดง
สาขาคลองสาน
สาขาเจริญกรุง
สาขาอุดมสุข
สาขารามอินทรา กม.2
สาขาลาดพร้าว-ห้วยขวาง
แพทย์ประจำสาขา
ประสบการณ์จากผู้รับบริการ
ข่าวสารและกิจกรรม
แผนที่คลินิก
สาขาทั้งหมดที่เปิดให้บริการ
ติดต่อเรา
ขั้นตอนการส่ง plus code
คลินิกเวชกรรม
อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรมใกล้บ้านใกล้คุณ
วิธีการค้นหาคลินิกเวชกรรมใกล้บ้าน เมื่อเจ็บป่วยหรือไม่สบาย
คลินิกใกล้ฉัน ตรวจรักษาโรคทั่วไป
ความรู้สุขภาพ
การตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
14 รายการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานที่บริษัทส่วนใหญ่เลือกใช้
8 แนวทางในการเลือกโปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานให้เหมาะสมกับองค์กร
7 เหตุผลที่ต้องตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ขั้นตอนการเข้ารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานกับอินทัชเมดิแคร์
การเตรียมตัวก่อนมารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
สิ่งที่ควรปฏิบัติหลังรับการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
การตรวจสุขภาพประจำปี
คำแนะนำก่อนตรวจสุขภาพประจำปี
การฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
การเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
การฝากครรภ์คุณภาพ
ความสำคัญของการฝากครรภ์
ฝากครรภ์แต่ละครั้งตรวจอะไรบ้าง
การดูแลสุขภาพมารดาช่วงตั้งครรภ์
วัคซีนที่จำเป็นในหญิงตั้งครรภ์
วิธีดูแลสุขภาพหลังคลอด
วิธีเลี้ยงลูกสำหรับคุณแม่มือใหม่
การฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ยาคุมแบบฝังและยาคุมแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร
ก่อนฝังยาคุม มีข้อควรระวังอะไรบ้าง
หลังฝังยาคุม มีวิธีการปฏิบัติตัวอย่างไรบ้าง
ผลข้างเคียงฝังยาคุมกำเนิด เสี่ยงต่อสุขภาพไหม?
ก่อนถอดเข็มยาคุม ต้องพิจารณาเรื่องอะไรบ้าง
หลังถอดเข็มต้องปฏิบัติตัวอย่างไร
ยาคุมกำเนิดแบบฝัง vs การทำหมัน แบบไหนป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดีกว่ากัน
ฉีดยาคุมกำเนิด
ข้อแตกต่างระหว่างฉีดยาคุมกับกินยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิดแบบ 1 เดือน กับ 3 เดือน ควรเลือกแบบไหน
ข้อแตกต่างระหว่างยาคุมแบบฉีดกับฝังยาคุม
การฉีดยาคุมกำเนิดมีข้อดีหรือข้อควรระวังอย่างไรบ้าง
หลังฉีดยาคุม มีวิธีการปฏิบัติตัวอย่างไร
บทความ
บทความน่ารู้เพื่อคุณ
เรื่องดีดีมีสาระ
บทความสุขภาพ
ลูกค้าองค์กร
Med refer
MED REFER คืออะไร
Med refer เข้าสู่ระบบ
Med refer ตรวจสอบผลตรวจ
เพิ่มเติม
TH
MM
EN
จี้หูด ฉีดคีลอยด์ ตัดติ่งเนื้อ รักษาแผลเป็น ที่อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรม
การมีผิวพรรณที่ดีน่าจะเป็นความต้องการของเราแทบทุกคน แต่ในหลายครั้งก็เลี่ยงไม่ได้ที่จะเกิดริ้วรอยต่างๆ หรือความผิดปกติเกิดขึ้นกับผิวหนังไม่ว่าจะเป็น หูด คีย์ลอยด์ แผลเป็น ติ่งเนื้อ ซึ่งหากเป็นแล้วก็ใช่ว่าจะรักษาให้หายหรือว่ามีร่องรอยบางเบาลงได้
ที่อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรมเรามีบริการตรวจวินิจฉัย รักษาโรคและฟื้นฟูสุขภาพผิวหนังของคุณ ได้แก่ บริการกำจัดหูดด้วยการใช้ยาจี้หูดและการผ่าตัด บริการตัดติ่งเนื้อ รวมไปถึงบริการฉีดคีลอยด์ สำหรับผู้ที่มีปัญหาแผลเป็นนูน แข็ง ให้บริการโดยแพทย์เฉพาะทางที่มีประสบการณ์ สะดวก รวดเร็ว ขั้นตอนไม่ยุ่งยาก ในราคาสบายกระเป๋า สำหรับผู้ป่วยชาวต่างชาติ ทางคลินิกมีล่ามแปลภาษาพม่าเพื่ออำนวยความสะดวกในการสื่อสาร ส่วนรายละเอียดจะเป็นอย่างไรนั้นเรามาดูกันเลย
หูด คืออะไร?
โรคหูด (Warts) คือโรคติดต่อทางผิวหนังประเภทหนึ่ง ทำให้ผิวหนังจะเป็นตุ่มหรือติ่งเนื้อ โดยเกิดจากเชื้อไวรัส Human Papillomavirus (HPV) ที่จะไปกระตุ้นให้เซลล์ผิวหนังเกิดการหนาตัวและแข็งตัวขึ้น สามารถเกิดได้ทุกเพศทุกวัย บางคนเมื่อรับเชื้อไวรัสมาแล้วอาจจะไม่แสดงอาการ โรคนี้เมื่อเป็นแล้วไม่มีอันตรายแต่อย่างใด นอกจากทำให้ดูน่าเกลียดน่ารำคาญหรือทำให้มีอาการปวดได้เป็นบางครั้ง ซึ่งหูดสามารถติดต่อกันได้ทางการสัมผัสและการมีเพศสัมพันธ์
หูดที่ผิวหนังมี 2 ชนิดคือ หูดบริเวณผิวหนัง เช่น หูดที่ผิวหนัง ฝ่ามือ และฝ่าเท้า กับหูดบริเวณเยื่อบุผิวหนังเป็นหูดที่เกิดขึ้นบริเวณอวัยวะเพศ หรือที่เรียกว่า หูดหงอนไก่ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับโรคมะเร็งปากมดลูกด้วย
อาการของหูด
ลักษณะอาการของหูดที่พบบ่อยคือ มีติ่งนูนยื่นขึ้นมาบนผิวหนัง ขนาดประมาณ 10 มิลลิเมตรมีผิวหยาบ หรือผิวเรียบเกิดขึ้นทั้งเป็นตุ่มเดี่ยว และเป็นกลุ่ม มีอาการคัน
การรักษาหูด
โดยทั่วไปแล้ว 65% ของผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันปกติ โรคนี้ จะหายไปได้เอง หรือคนที่เป็นหูดไม่มาก อาจจะเลือกใช้วิธี หายาทาแก้หูดมารักษาเองก่อนเบื้องต้น การทายาบริเวณผิวหนังที่เป็นหูด เหมาะสำหรับเด็กจะทำให้ไม่เจ็บปวด แต่การรักษาด้วยการทายาจะต้องใช้เวลานานหลายสัปดาห์ หรือนานกว่านั้น โดยควรมาพบแพทย์เพื่อรับการรักษาไม่ควรทายาเอง สำหรับแนวทางการรักษามีดังต่อไปนี้
การจี้ด้วยไนโตรเจนเหลว
การใช้ความเย็นจากไนโตรเจนเหลวจี้หูด เป็นวิธีที่สามารถกำจัดหูดได้แต่อาจจะต้องทำซ้ำหลายครั้งเพื่อจะกำจัดหูดออกไป โดยสำหรับผู้ที่เป็นหูดที่นิ้วมือ มักจะใช้วิธีนี้ในการรักษา
การจี้หูดด้วยไฟฟ้า
เป็นการจี้หูดด้วยไฟฟ้า หรือจี้ด้วยคาร์บอนไดออกไซด์เลเซอร์ (Laser ablation) หลังจากนั้นจะมีการคีบรากหูดออกไป
การผ่าตัด
สำหรับผู้ป่วยบางรายการจี้หูดอาจจะไม่สามารถกำจัดหูดให้หายได้ จึงจำเป็นต้องใช้การผ่าตัดออกไป โดยควรเลือกทำกับแพทย์เฉพาะทางและสถานพยาบาลที่ได้มาตรฐานเพื่อความปลอดภัยและได้ผล
อัตราค่าบริการ : ราคาเริ่มต้น 800 บาท สามารถประเมินราคาก่อนรักษาได้ (คลิกที่นี่เพื่อสอบถาม)
ติ่งเนื้อ คืออะไร?
ติ่งเนื้อ (Skin Tags/Acrochordon) คือ ก้อนเนื้อขนาดเล็กมีลักษณะนุ่ม เป็นติ่งอยู่บนผิวหนัง มีสีและขนาดแตกต่างกันไป ตั้งแต่ขนาดเล็กไปจนถึงประมาณ 2 นิ้ว ติ่งเนื้อไม่ใช่เนื้อร้าย และไม่กลายเป็นมะเร็งผิวหนัง โดยทั่วไปแล้วบริเวณผิวหนังที่เป็นข้อพับมักเกิดติ่งเนื้อ เช่น คอ รักแร้ ลำตัว ใต้ราวนม หรือบริเวณหัวหน่าว ผู้ที่มีติ่งเนื้ออาจรู้สึกระคายเคืองในกรณีที่ติ่งเนื้อเสียดสีกับเสื้อผ้า
การรักษาติ่งเนื้อ
ในบางรายที่มีปัญหาในภาพลักษณ์ และต้องการรักษา แพทย์จะทำการตัดออก โดยใช้ใบมีด กรรไกร จี้ไฟฟ้า การเลเซอร์ และการใช้ความเย็น ไนโตรเจนเหลว หลังรักษาอาจจะมีแผลตื้นๆ ควรทายาและดูแลให้สะอาดเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
คีลอยด์ คืออะไร?
คีลอยด์ คือ แผลเป็นชนิดหนึ่งที่มีลักษณะนูนและขนาดอาจขยายใหญ่กว่ารอยแผลที่เกิดขึ้น เช่นแผลจริงยาวเพียง 1 ซม. แต่คีลอยด์กลับใหญ่โตเกือบ 20 ซม. เป็นต้น โดยอาจเกิดขึ้นทันทีที่แผลหายหรือหลังจากแผลหายดีสักพักแล้ว แม้จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายใดๆ แต่ก็อาจทำให้รู้สึกเจ็บ คัน ระคายเคือง หรือส่งผลด้านความสวยความงามได้
แผลเป็นคีลอยด์เกิดจากอะไร
สาเหตุของการเกิดแผลเป็นคีลอยด์มาจากความผิดปกติของกระบวนการรักษาแผลตามธรรมชาติของร่างกาย โดยปกติผิวหนังจะมีการสร้างเนื้อเยื่อและคอลลาเจนเพื่อซ่อมแซมส่วนที่เสียหาย แต่หากกระบวนการนี้ทำงานมากจนเกินไปจะทำให้เกิดแผลเป็น โดยจะก่อตัวขึ้นหลังจากที่ได้รับบาดแผลบริเวณผิวหนัง เช่น แผลจากการผ่าตัด แผลจากการเจาะตามร่างกาย แผลไหม้ แผลจากอีสุกอีใส แผลจากสิว หรือแม้กระทั่งแผลที่เกิดจากรอยขีดข่วนเล็กๆ น้อยๆ
ลักษณะและอาการของการเกิดคีลอยด์
คีลอยด์สามารถเกิดขึ้นที่บนร่างกายบริเวณใดก็ตาม แต่ส่วนที่มีแนวโน้มการเกิดคีลอยด์มากกว่าบริเวณอื่นๆ ได้แก่ หน้าอก หัวไหล่ หลัง ลำคอ และติ่งหู โดยอาจมีลักษณะที่สังเกตได้ดังต่อไปนี้
เกิดขึ้นหลังจากการเกิดแผลเป็น (Scar)
แผลเป็นนูน ใหญ่ขึ้นมาอย่างเห็นได้ชัด มันวาว มีลักษณะผิวเรียบ หรือขรุขระ
ในช่วงแรก มีสีชมพู แดง หรือม่วง หลังจากนั้นสีผิวจะซีดลง (hypopigmentation) หรือเปลี่ยนเป็นสีเข้ม (hyperpigmentation)
ไม่มีขนเกิดขึ้นบริเวณที่เป็นคีลอยด์
บางกรณีอาจเกิดความรู้สึกเจ็บ คัน หรือระคายเคือง ตรงบริเวณแผลเป็นคีลอยด์ เมื่อเกิดการเสียดสีกับเสื้อผ้า
คีลอยด์อาจคงอยู่เป็นเวลาหลายปี และบางครั้งก็ใช้เวลานานเป็นเดือนหรือเป็นปีกว่าจะก่อตัวขึ้นมา
การรักษาแผลเป็นคีลอยด์
การใช้แผ่นแปะแผลเป็นคีลอยด์ ลดรอยแผลเป็นนูนทั้งเก่าและใหม่ จะช่วยเก็บกักความชุ่มชื้น แผลเป็นแบนราบลง ความนูนลดลง และมีสีจางลง หญิงตั้งครรภ์สามารถใช้ได้
การใช้ยาทาแผลเป็นคีลอยด์ ทั้งแบบครีมและแบบเจล ใช้รักษาแผลเป็นจากสิวได้ รักษาเนื้อเยื่อและลดการปรากฏตัวของรอยแผลเป็น
การฉีดแผลเป็นคีลอยด์ เพื่อลดการอักเสบของแผล ซึ่งแพทย์จะใช้ยาฉีดเฉพาะที่ ฉีดเข้าไปในบริเวณที่เป็นแผลเป็นคีลอยด์โดยตรง ซึ่งผู้ป่วยควรทำการฉีดยาอย่างต่อเนื่องเดือนละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ความถี่ขึ้นอยู่กับการตอบสนองของยากับแผลเป็นว่ามีผลเป็นอย่างไร
การใช้ความเย็นจัดในการรักษา ใช้กับแผลขนาดเล็ก โดยเป็นการให้คีลอยด์ได้สัมผัสกับความเย็นสูงจากไนโตรเจนเหลว การรักษาวิธีนี้อาจใช้วิธีอื่นควบคู่ไปด้วย เช่น การฉีดสเตียรอยด์ การใช้ความเย็นจัดจะช่วยให้คีลอยด์แบนเรียบลงได้
การผ่าตัดคีลอยด์ ทำได้เฉพาะในบางกรณี และอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น เป็นวิธีการตัดแผลออกหรือลดขนาดของแผลเป็นให้เล็กลง ซึ่งการตัดแผลจะทำโดยการผ่าตัดบริเวณที่เป็นแผลออกแล้วเย็บปิดเป็นเส้นตรง มักใช้ในกรณีที่เป็นแผลขนาดเล็กและเกิดขึ้นตามร่างกายในส่วนที่พอจะเย็บแผลได้ บางส่วนของร่างกายก็ไม่สามารถใช้วิธีการผ่าตัดได้ เช่น ผิวหนังบริเวณหน้าท้องที่มีความยืดหยุ่นสูง
ทั้งนี้การรักษาแผลเป็นคีลอยด์จะให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับวิธีการรักษา แนะนำให้ปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางผิวหนังเพื่อวินิจฉัยและให้การรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสม
สำหรับท่านที่ปัญหาเรื่อง หูด แผลเป็นคีลอยด์ ติ่งเนื้อ อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรม ให้บริการจี้หูด ตัดติ่งเนื้อ และฉีดคีย์รอยด์ ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ สามารถนัดหมายเพื่อประเมินอาการได้ โดยสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้จากที่อยู่บนหน้าเว็บไซต์หรือค้นหาได้จากคลินิกใกล้ฉัน ใน Google เราดูแลคุณโดยแพทย์เฉพาะทางที่มีความเชี่ยวชาญพร้อมเครื่องมือที่ทันสมัย บริการที่ได้มาตรฐาน ขั้นตอนไม่ยุ่งยาก สะดวกสบาย ใกล้บ้าน ในราคาสบายกระเป๋า
อัตราค่าบริการ : ราคาเริ่มต้น 800 บาท สามารถประเมินราคาก่อนรักษาได้ (คลิกที่นี่เพื่อสอบถาม)
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
Hot Line
081-562-7722 กดโทรออก
@qns9056c
อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรม
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
นโยบายความเป็นส่วนตัว
และ
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด