TH
MM
EN
หน้าหลัก
บริการของเรา
ตรวจรักษาโรคทั่วไป
ล้างแผล ทำแผล
เย็บแผล
ตัดไหม
ให้น้ำเกลือ
ฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
คลินิกเบาหวาน คลินิกความดันโลหิตสูง
ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ใบรับรองแพทย์
ใบรับรองแพทย์ 5 โรค สมัครงาน,ทำใบขับขี่
ใบรับรองแพทย์ผู้สัมผัสอาหาร (10 โรค)
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างชาติ (Work Permit Program)
ตรวจสุขภาพใบรับรองแพทย์เพื่อศึกษาต่อ
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว (ตรวจสุขภาพต่างด้าว)
ตรวจนรีเวชสำหรับสุภาพสตรี
ต่อมบาร์โธลินอักเสบ
คลินิกตรวจรักษาโรคทางเพศสัมพันธ์
วางแผนครอบครัว
ฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิด
ใส่ห่วงคุมกำเนิดและถอดห่วงคุมกำเนิด
ใส่ห่วงคุมกำเนิด (ห่วงอนามัย)
ถอดห่วงคุมกําเนิด
จี้หูด/ตัดติ่งเนื้อ/ฉีดคีลอยด์
ฉีดวัคซีน
วัคซีนเด็ก
วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก
วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
วัคซีนพิษสุนัขบ้า
วัคซีนบาดทะยัก
บริการฉีดวัคซีนที่บ้าน
ฉีดวัคซีนองค์กรหรือรายกลุ่ม
ตรวจภายในและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
หาหมอออนไลน์ Telemedicine
ตรวจหาภูมิคุ้มกันโควิด Covid-19
โปรแกรมตรวจสุขภาพ
โปรแกรมตรวจสุขภาพเบาหวาน
โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปีวัยเก๋า
โปรแกรมตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โปรแกรมตรวจเตรียมตัวก่อนบวช
โปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนทำศัลยกรรม
โปรแกรมตรวจสุขภาพไปต่างประเทศ
โปรโมชั่นและแพ็คเกจ
ตรวจสุขภาพประจำปีแบบเคลื่อนที่ Mobile Check up
ยาเพร็พ (HIV PrEP) ,ยาเป๊ป (HIV PEP)
ยาเพร็พ (HIV PrEP)
ยาเป๊ป (HIV PEP)
เกี่ยวกับเรา
คลินิกของเรา
เกี่ยวกับเรา
สาขาตลิ่งชัน
สาขาดินแดง
สาขาคลองสาน
สาขาเจริญกรุง
สาขาอุดมสุข
สาขารามอินทรา กม.2
แพทย์ประจำสาขา
ประสบการณ์จากผู้รับบริการ
ข่าวสารและกิจกรรม
แผนที่คลินิก
สาขาทั้งหมดที่เปิดให้บริการ
ติดต่อเรา
คลินิกเวชกรรม
อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรมใกล้บ้านใกล้คุณ
วิธีการค้นหาคลินิกเวชกรรมใกล้บ้าน เมื่อเจ็บป่วยหรือไม่สบาย
คลินิกใกล้ฉัน ตรวจรักษาโรคทั่วไป
ความรู้สุขภาพ
การตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
14 รายการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานที่บริษัทส่วนใหญ่เลือกใช้
8 แนวทางในการเลือกโปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานให้เหมาะสมกับองค์กร
7 เหตุผลที่ต้องตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ขั้นตอนการเข้ารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานกับอินทัชเมดิแคร์
การเตรียมตัวก่อนมารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
สิ่งที่ควรปฏิบัติหลังรับการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
การตรวจสุขภาพประจำปี
คำแนะนำก่อนตรวจสุขภาพประจำปี
การฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
การเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
การฝากครรภ์คุณภาพ
ความสำคัญของการฝากครรภ์
ฝากครรภ์แต่ละครั้งตรวจอะไรบ้าง
การดูแลสุขภาพมารดาช่วงตั้งครรภ์
วัคซีนที่จำเป็นในหญิงตั้งครรภ์
วิธีดูแลสุขภาพหลังคลอด
วิธีเลี้ยงลูกสำหรับคุณแม่มือใหม่
การฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ยาคุมแบบฝังและยาคุมแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร
12 ข้อดีของยาฝังคุมกำเนิด มีอะไรบ้าง
ข้อควรคำนึงก่อนฝังยาคุม
แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวหลังการฝังยาคุม
ผลข้างเคียงจากการฝังยาคุมกำเนิด เสี่ยงต่อสุขภาพไหม?
ถอดเข็มยาคุมแบบฝังต้องพิจารณาเรื่องอะไรบ้าง
หลังถอดเข็มต้องปฏิบัติตัวอย่างไร
ยาคุมกำเนิดแบบฝัง vs การทำหมัน แบบไหนป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดีกว่ากัน
ฉีดยาคุมกำเนิด
ข้อแตกต่างระหว่างฉีดยาคุมกับกินยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิดแบบ 1 เดือน กับ 3 เดือน ควรเลือกแบบไหน
ข้อแตกต่างระหว่างยาคุมแบบฉีดกับฝังยาคุม
การฉีดยาคุมกำเนิดมีข้อดีหรือข้อควรระวังอย่างไรบ้าง
หลังฉีดยาคุม มีวิธีการปฏิบัติตัวอย่างไร
บทความน่ารู้เพื่อคุณ
บทความสุขภาพ
ลูกค้าองค์กร
Med refer
MED REFER คืออะไร
Med refer เข้าสู่ระบบ
Med refer ตรวจสอบผลตรวจ
เพิ่มเติม
หน้าหลัก
บริการของเรา
ตรวจรักษาโรคทั่วไป
ล้างแผล ทำแผล
เย็บแผล
ตัดไหม
ให้น้ำเกลือ
ฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
คลินิกเบาหวาน คลินิกความดันโลหิตสูง
ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ใบรับรองแพทย์
ใบรับรองแพทย์ 5 โรค สมัครงาน,ทำใบขับขี่
ใบรับรองแพทย์ผู้สัมผัสอาหาร (10 โรค)
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างชาติ (Work Permit Program)
ตรวจสุขภาพใบรับรองแพทย์เพื่อศึกษาต่อ
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว (ตรวจสุขภาพต่างด้าว)
ตรวจนรีเวชสำหรับสุภาพสตรี
ต่อมบาร์โธลินอักเสบ
คลินิกตรวจรักษาโรคทางเพศสัมพันธ์
วางแผนครอบครัว
ฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิด
ใส่ห่วงคุมกำเนิดและถอดห่วงคุมกำเนิด
ใส่ห่วงคุมกำเนิด (ห่วงอนามัย)
ถอดห่วงคุมกําเนิด
จี้หูด/ตัดติ่งเนื้อ/ฉีดคีลอยด์
ฉีดวัคซีน
วัคซีนเด็ก
วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก
วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
วัคซีนพิษสุนัขบ้า
วัคซีนบาดทะยัก
บริการฉีดวัคซีนที่บ้าน
ฉีดวัคซีนองค์กรหรือรายกลุ่ม
ตรวจภายในและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
หาหมอออนไลน์ Telemedicine
ตรวจหาภูมิคุ้มกันโควิด Covid-19
โปรแกรมตรวจสุขภาพ
โปรแกรมตรวจสุขภาพเบาหวาน
โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปีวัยเก๋า
โปรแกรมตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โปรแกรมตรวจเตรียมตัวก่อนบวช
โปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนทำศัลยกรรม
โปรแกรมตรวจสุขภาพไปต่างประเทศ
โปรโมชั่นและแพ็คเกจ
ตรวจสุขภาพประจำปีแบบเคลื่อนที่ Mobile Check up
ยาเพร็พ (HIV PrEP) ,ยาเป๊ป (HIV PEP)
ยาเพร็พ (HIV PrEP)
ยาเป๊ป (HIV PEP)
เกี่ยวกับเรา
คลินิกของเรา
เกี่ยวกับเรา
สาขาตลิ่งชัน
สาขาดินแดง
สาขาคลองสาน
สาขาเจริญกรุง
สาขาอุดมสุข
สาขารามอินทรา กม.2
แพทย์ประจำสาขา
ประสบการณ์จากผู้รับบริการ
ข่าวสารและกิจกรรม
แผนที่คลินิก
สาขาทั้งหมดที่เปิดให้บริการ
ติดต่อเรา
คลินิกเวชกรรม
อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรมใกล้บ้านใกล้คุณ
วิธีการค้นหาคลินิกเวชกรรมใกล้บ้าน เมื่อเจ็บป่วยหรือไม่สบาย
คลินิกใกล้ฉัน ตรวจรักษาโรคทั่วไป
ความรู้สุขภาพ
การตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
14 รายการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานที่บริษัทส่วนใหญ่เลือกใช้
8 แนวทางในการเลือกโปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานให้เหมาะสมกับองค์กร
7 เหตุผลที่ต้องตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ขั้นตอนการเข้ารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานกับอินทัชเมดิแคร์
การเตรียมตัวก่อนมารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
สิ่งที่ควรปฏิบัติหลังรับการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
การตรวจสุขภาพประจำปี
คำแนะนำก่อนตรวจสุขภาพประจำปี
การฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
การเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
การฝากครรภ์คุณภาพ
ความสำคัญของการฝากครรภ์
ฝากครรภ์แต่ละครั้งตรวจอะไรบ้าง
การดูแลสุขภาพมารดาช่วงตั้งครรภ์
วัคซีนที่จำเป็นในหญิงตั้งครรภ์
วิธีดูแลสุขภาพหลังคลอด
วิธีเลี้ยงลูกสำหรับคุณแม่มือใหม่
การฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ยาคุมแบบฝังและยาคุมแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร
12 ข้อดีของยาฝังคุมกำเนิด มีอะไรบ้าง
ข้อควรคำนึงก่อนฝังยาคุม
แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวหลังการฝังยาคุม
ผลข้างเคียงจากการฝังยาคุมกำเนิด เสี่ยงต่อสุขภาพไหม?
ถอดเข็มยาคุมแบบฝังต้องพิจารณาเรื่องอะไรบ้าง
หลังถอดเข็มต้องปฏิบัติตัวอย่างไร
ยาคุมกำเนิดแบบฝัง vs การทำหมัน แบบไหนป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดีกว่ากัน
ฉีดยาคุมกำเนิด
ข้อแตกต่างระหว่างฉีดยาคุมกับกินยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิดแบบ 1 เดือน กับ 3 เดือน ควรเลือกแบบไหน
ข้อแตกต่างระหว่างยาคุมแบบฉีดกับฝังยาคุม
การฉีดยาคุมกำเนิดมีข้อดีหรือข้อควรระวังอย่างไรบ้าง
หลังฉีดยาคุม มีวิธีการปฏิบัติตัวอย่างไร
บทความน่ารู้เพื่อคุณ
บทความสุขภาพ
ลูกค้าองค์กร
Med refer
MED REFER คืออะไร
Med refer เข้าสู่ระบบ
Med refer ตรวจสอบผลตรวจ
เพิ่มเติม
TH
MM
EN
ข้อควรรู้ก่อนการตรวจการติดเชื้อเอชไอวี
อินทัชเมดิแคร์ คลินิกเวชกรรม
1. ความรู้เกี่ยวกับเอชไอวี
การติดเชื้อเอชไอวี (HN) เกิดได้ 3 ทางคือ
1.1. ทางเพศสัมพันธ์
1.2. ทางเลือด เช่น ได้รับเลือดของคนที่เป็นโรค หรือใช้เข็มฉีดยาร่วมกับคนที่เป็นโรค
1.3. จากแม่ไปสู่ลูกในขณะท้อง ตอนคลอด หรือจากการกินนมแม่
อาการของโรคติดเชื้อเอชไอวีในระยะต้น อาจมีต่อมน้ำเหลืองโตทั่วตัว ซึ่งผู้ที่เป็นโรคอาจไม่รู้สึกผิดปกติเลย ต่อมาจึงเริ่มมีอาการแสดงออกมากขึ้น เช่น เป็นเชื้อราในปาก เป็นงูสวัด ท้องเสียบ่อยๆ น้ำหนักลดและในที่สุดจะมีอาการโรคเอดส์ เช่น เชื้อราขึ้นสมอง ปอดอักเสบรุนแรง เป็นมะเร็ง สมองเสื่อม ซึ่งอาการตั้งแต่ระยะต้นจนถึงระยะเป็นเอดส์ อาจใช้เวลานานหลายปี ผู้ที่มีอาการในขั้นสุดท้ายหากไม่ได้รับการรักษามักจะเสียชีวิตภายใน 2-3 ปี
2. การตรวจการติดเชื้อเอชไอวี
วิธีการตรวจการติดเชื้อเอชไอวีที่นิยมมากที่สุด คือ การตรวจเลือด หากผลเลือดเป็นบวก แปลว่ามีการติดเชื้อเอชไอวี หากผลเลือดเป็นลบ แปลว่าตรวจไม่พบเชื้อเอชไอวีผลการตรวจเลือดเป็นบวกไม่ได้แปลว่าจะต้องมีอาการเสมอไป เพราะบางครั้งต้องใช้เวลานานหลายปีกว่าจะมีอาการป่วยขึ้นมา ผลการตรวจเลือดเป็นลบ ไม่ได้แปลว่าจะไม่ติดเชื้อเอชไอวีเสมอไป เพราะบางครั้งเพิ่งได้รับเชื้อมาไม่นานในช่วง 1-2 เดือนแรก เลือดจะยังเป็นลบอยู่ ต่อมาจึงกลายเป็นบวก ดังนั้นหากได้รับผลเลือดเป็นลบและมีเหตุควรสงสัย ควรจะตรวจซ้ำอีก 3-6 เดือนต่อมา ถ้าผลเป็นลบอีกจึงจะแน่ใจว่าไม่ติดเชื้อ
เอชไอวี
3. ทำไมควรตรวจการติดเชื้อเอชไอวี
การรู้ว่าตัวเองมีเชื้อเอชไอวีหรือไม่ มีประโยชน์หลายอย่างเช่น จะได้ป้องกันคนที่รัก เช่น สามี ภรรยา ลูกที่จะเกิดมา ไม่ให้ติดเชื้อเอชไอวีตาม และจะได้ดูแลรักษาสุขภาพตัวเอง และกินยาต้านไวรัสอย่างสม่ำเสมอเพื่อควบคุมปริมาณเชื้อเอชไอวีในร่างกาย จะได้มีชีวิตยืนยาวอย่างแข็งแรงและมีคุณภาพดีเหมือนคนทั่วไป ในขณะนี้ภาครัฐได้จัดสรรยาต้านไวรัสให้แก่ผู้ที่ติดเชื้อโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตามสิทธิการรักษาพยาบาล ซึ่งจะทำให้ผู้ติดเชื้อไม่ต้องมีภาระในการรักษาตน
4. ผลกระทบจากการตรวจการติดเชื้อเอชไอวี
ถ้าได้ผลออกมาเป็นบวก บางคนอาจรับสภาพไม่ได้ หรือไม่ทราบว่ามีการรักษาฟรีที่มีสามารถทำให้แข็งแรงเป็นปกติ อาจคิดสั้น หมดหวังในชีวิต อาจทำให้ที่ทำงานเลิกจ้าง บริษัทประกันบางแห่งอาจไม่รับประกันถ้าไม่บอกผลตรวจเอชไอวี หรือถ้าได้ผลบวก
แม้แต่ในรายที่ได้ผลออกมาเป็นลบ ก็อาจสร้างปัญหาได้เช่น กรณีที่ได้รับเชื้อมาภายใน 1-2 เดือนอาจตรวจเลือดแล้วเป็นลบ จึงไปมีเพศสัมพันธ์กับคู่ครองหรือคนอื่น โดยไม่มีการป้องกันทำให้แพร่เชื้อออกไปก่อนที่จะรู้ตัวว่าตัวเองมีเชื้ออยู่
5. สิทธิของผู้รับการตรวจการติดเชื้อเอชไอวี
ผู้รับการตรวจการติดเชื้อเอชไอวีมีสิทธิที่จะได้รับการปฏิบัติอย่างเหมาะสมผู้รับการตรวจควรทราบถึงสิทธิก่อนรับการตรวจเอชไอวี ดังนี้
5.1. เว้นแต่กรณีฉุกเฉิน หรือมีเหตุผลความจำเป็นอย่างยิ่งในการตรวจเอชไอวีทุกครั้ง แพทย์หรือเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ จะต้องอธิบายการตรวจ การแปลผล และผลกระทบให้แก่ผู้รับการตรวจจนเป็นที่เข้าใจ
5.2. ผู้รับการตรวจมีสิทธิชักถามเกี่ยวกับขั้นตอนและผลการตรวจ โดยแพทย์หรือเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์จะต้องตอบคำถาม และให้คำแนะนำจบเข้าใจ
5.3. ผลการตรวจเอชไอวีเป็นความสับระหว่างแพทย์ และเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับผู้รับ
การตรวจเท่านั้น ซึ่งแพทย์และเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องจะต้องรักษาความลับของผู้รับการตรวจอย่างเคร่งครัด
การแจ้งผลต่อผู้อื่น แพทย์จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมจากผู้รับการตรวจทราบผลการตรวจแล้วหรือเมื่อต้องปฏิบัติตามกฎหมาย
5.4. ผู้รับการตรวจควรทราบว่า หากไม่ตรวจ ณ สถานที่แห่งนั้น จะสามารถไปตรวจที่ใดก็ได้ตามสิทธิการรักษาที่มีอยู่ โดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สป.สช.) ให้สิทธิในการตรวจโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายปีละ 2 ครั้ง หรืออาจมีทางเลือกอื่นๆ เช่น ไปขอรับการตรวจที่คลินิกนิรนาม ซึ่งให้บริการตรวจโดยไม่ต้องแจ้งชื่อ
อ้างอิง : มติคณะกรรมการแพทยสภา ในการประชุมครั้งที่ 9/2557
แก้ไขล่าสุด : 31/01/2023
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
นโยบายความเป็นส่วนตัว
และ
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด