TH
MM
EN
หน้าหลัก
บริการของเรา
ตรวจรักษาโรคทั่วไป
ล้างแผล ทำแผล
เย็บแผล
ตัดไหม
ให้น้ำเกลือ
รักษาไข้หวัดใหญ่
ฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
ตรวจการตั้งครรภ์
ฝากครรภ์ ฝากท้อง ราคาสบายกระเป๋า
คลินิกเบาหวาน คลินิกความดันโลหิตสูง
ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ใบรับรองแพทย์
ใบรับรองแพทย์ ทำใบขับขี่
ใบรับรองแพทย์ผู้สัมผัสอาหาร (10 โรค)
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างชาติ (Work Permit Program)
ตรวจสุขภาพใบรับรองแพทย์ สมัครเรียน
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว (ตรวจสุขภาพต่างด้าว)
ตรวจนรีเวชสำหรับสุภาพสตรี
ต่อมบาร์โธลินอักเสบ
คลินิกตรวจรักษาโรคทางเพศสัมพันธ์
วางแผนครอบครัว
ฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิด
ใส่ห่วงคุมกำเนิดและถอดห่วงคุมกำเนิด
ใส่ห่วงคุมกำเนิด (ห่วงอนามัย)
ถอดห่วงคุมกําเนิด
จี้หูด/ตัดติ่งเนื้อ/ฉีดคีลอยด์
ฉีดวัคซีน
วัคซีนเด็ก
วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก
วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
วัคซีนพิษสุนัขบ้า
วัคซีนบาดทะยัก
บริการฉีดวัคซีนที่บ้าน
ฉีดวัคซีนองค์กรหรือรายกลุ่ม
ตรวจภายในและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
หาหมอออนไลน์ Telemedicine
ตรวจหาภูมิคุ้มกันโควิด Covid-19
โปรแกรมตรวจสุขภาพ
โปรแกรมตรวจสุขภาพเบาหวาน
โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปีวัยเก๋า
โปรแกรมตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โปรแกรมตรวจเตรียมตัวก่อนบวช
โปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนทำศัลยกรรม
โปรแกรมตรวจสุขภาพไปต่างประเทศ
โปรโมชั่นและแพ็คเกจ
ตรวจสุขภาพประจำปีแบบเคลื่อนที่ Mobile Check up
ยาเพร็พ (HIV PrEP) ,ยาเป๊ป (HIV PEP)
ยาเพร็พ (HIV PrEP)
ยาเป๊ป (HIV PEP)
เกี่ยวกับเรา
คลินิกของเรา
เกี่ยวกับเรา
สาขาตลิ่งชัน
สาขาดินแดง
สาขาคลองสาน
สาขาเจริญกรุง
สาขาอุดมสุข
สาขารามอินทรา กม.2
แพทย์ประจำสาขา
ประสบการณ์จากผู้รับบริการ
ข่าวสารและกิจกรรม
แผนที่คลินิก
สาขาทั้งหมดที่เปิดให้บริการ
ติดต่อเรา
คลินิกเวชกรรม
อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรมใกล้บ้านใกล้คุณ
วิธีการค้นหาคลินิกเวชกรรมใกล้บ้าน เมื่อเจ็บป่วยหรือไม่สบาย
คลินิกใกล้ฉัน ตรวจรักษาโรคทั่วไป
ความรู้สุขภาพ
การตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
14 รายการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานที่บริษัทส่วนใหญ่เลือกใช้
8 แนวทางในการเลือกโปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานให้เหมาะสมกับองค์กร
7 เหตุผลที่ต้องตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ขั้นตอนการเข้ารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานกับอินทัชเมดิแคร์
การเตรียมตัวก่อนมารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
สิ่งที่ควรปฏิบัติหลังรับการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
การตรวจสุขภาพประจำปี
คำแนะนำก่อนตรวจสุขภาพประจำปี
การฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
การเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
การฝากครรภ์คุณภาพ
ความสำคัญของการฝากครรภ์
ฝากครรภ์แต่ละครั้งตรวจอะไรบ้าง
การดูแลสุขภาพมารดาช่วงตั้งครรภ์
วัคซีนที่จำเป็นในหญิงตั้งครรภ์
วิธีดูแลสุขภาพหลังคลอด
วิธีเลี้ยงลูกสำหรับคุณแม่มือใหม่
การฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ยาคุมแบบฝังและยาคุมแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร
12 ข้อดีของยาฝังคุมกำเนิด มีอะไรบ้าง
ข้อควรคำนึงก่อนฝังยาคุม
แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวหลังการฝังยาคุม
ผลข้างเคียงจากการฝังยาคุมกำเนิด เสี่ยงต่อสุขภาพไหม?
ถอดเข็มยาคุมแบบฝังต้องพิจารณาเรื่องอะไรบ้าง
หลังถอดเข็มต้องปฏิบัติตัวอย่างไร
ยาคุมกำเนิดแบบฝัง vs การทำหมัน แบบไหนป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดีกว่ากัน
ฉีดยาคุมกำเนิด
ข้อแตกต่างระหว่างฉีดยาคุมกับกินยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิดแบบ 1 เดือน กับ 3 เดือน ควรเลือกแบบไหน
ข้อแตกต่างระหว่างยาคุมแบบฉีดกับฝังยาคุม
การฉีดยาคุมกำเนิดมีข้อดีหรือข้อควรระวังอย่างไรบ้าง
หลังฉีดยาคุม มีวิธีการปฏิบัติตัวอย่างไร
บทความน่ารู้เพื่อคุณ
บทความสุขภาพ
ลูกค้าองค์กร
Med refer
MED REFER คืออะไร
Med refer เข้าสู่ระบบ
Med refer ตรวจสอบผลตรวจ
เพิ่มเติม
หน้าหลัก
บริการของเรา
ตรวจรักษาโรคทั่วไป
ล้างแผล ทำแผล
เย็บแผล
ตัดไหม
ให้น้ำเกลือ
รักษาไข้หวัดใหญ่
ฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
ตรวจการตั้งครรภ์
ฝากครรภ์ ฝากท้อง ราคาสบายกระเป๋า
คลินิกเบาหวาน คลินิกความดันโลหิตสูง
ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ใบรับรองแพทย์
ใบรับรองแพทย์ ทำใบขับขี่
ใบรับรองแพทย์ผู้สัมผัสอาหาร (10 โรค)
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างชาติ (Work Permit Program)
ตรวจสุขภาพใบรับรองแพทย์ สมัครเรียน
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว (ตรวจสุขภาพต่างด้าว)
ตรวจนรีเวชสำหรับสุภาพสตรี
ต่อมบาร์โธลินอักเสบ
คลินิกตรวจรักษาโรคทางเพศสัมพันธ์
วางแผนครอบครัว
ฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิด
ใส่ห่วงคุมกำเนิดและถอดห่วงคุมกำเนิด
ใส่ห่วงคุมกำเนิด (ห่วงอนามัย)
ถอดห่วงคุมกําเนิด
จี้หูด/ตัดติ่งเนื้อ/ฉีดคีลอยด์
ฉีดวัคซีน
วัคซีนเด็ก
วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก
วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
วัคซีนพิษสุนัขบ้า
วัคซีนบาดทะยัก
บริการฉีดวัคซีนที่บ้าน
ฉีดวัคซีนองค์กรหรือรายกลุ่ม
ตรวจภายในและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
หาหมอออนไลน์ Telemedicine
ตรวจหาภูมิคุ้มกันโควิด Covid-19
โปรแกรมตรวจสุขภาพ
โปรแกรมตรวจสุขภาพเบาหวาน
โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปีวัยเก๋า
โปรแกรมตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โปรแกรมตรวจเตรียมตัวก่อนบวช
โปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนทำศัลยกรรม
โปรแกรมตรวจสุขภาพไปต่างประเทศ
โปรโมชั่นและแพ็คเกจ
ตรวจสุขภาพประจำปีแบบเคลื่อนที่ Mobile Check up
ยาเพร็พ (HIV PrEP) ,ยาเป๊ป (HIV PEP)
ยาเพร็พ (HIV PrEP)
ยาเป๊ป (HIV PEP)
เกี่ยวกับเรา
คลินิกของเรา
เกี่ยวกับเรา
สาขาตลิ่งชัน
สาขาดินแดง
สาขาคลองสาน
สาขาเจริญกรุง
สาขาอุดมสุข
สาขารามอินทรา กม.2
แพทย์ประจำสาขา
ประสบการณ์จากผู้รับบริการ
ข่าวสารและกิจกรรม
แผนที่คลินิก
สาขาทั้งหมดที่เปิดให้บริการ
ติดต่อเรา
คลินิกเวชกรรม
อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรมใกล้บ้านใกล้คุณ
วิธีการค้นหาคลินิกเวชกรรมใกล้บ้าน เมื่อเจ็บป่วยหรือไม่สบาย
คลินิกใกล้ฉัน ตรวจรักษาโรคทั่วไป
ความรู้สุขภาพ
การตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
14 รายการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานที่บริษัทส่วนใหญ่เลือกใช้
8 แนวทางในการเลือกโปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานให้เหมาะสมกับองค์กร
7 เหตุผลที่ต้องตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ขั้นตอนการเข้ารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานกับอินทัชเมดิแคร์
การเตรียมตัวก่อนมารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
สิ่งที่ควรปฏิบัติหลังรับการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
การตรวจสุขภาพประจำปี
คำแนะนำก่อนตรวจสุขภาพประจำปี
การฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
การเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
การฝากครรภ์คุณภาพ
ความสำคัญของการฝากครรภ์
ฝากครรภ์แต่ละครั้งตรวจอะไรบ้าง
การดูแลสุขภาพมารดาช่วงตั้งครรภ์
วัคซีนที่จำเป็นในหญิงตั้งครรภ์
วิธีดูแลสุขภาพหลังคลอด
วิธีเลี้ยงลูกสำหรับคุณแม่มือใหม่
การฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ยาคุมแบบฝังและยาคุมแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร
12 ข้อดีของยาฝังคุมกำเนิด มีอะไรบ้าง
ข้อควรคำนึงก่อนฝังยาคุม
แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวหลังการฝังยาคุม
ผลข้างเคียงจากการฝังยาคุมกำเนิด เสี่ยงต่อสุขภาพไหม?
ถอดเข็มยาคุมแบบฝังต้องพิจารณาเรื่องอะไรบ้าง
หลังถอดเข็มต้องปฏิบัติตัวอย่างไร
ยาคุมกำเนิดแบบฝัง vs การทำหมัน แบบไหนป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดีกว่ากัน
ฉีดยาคุมกำเนิด
ข้อแตกต่างระหว่างฉีดยาคุมกับกินยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิดแบบ 1 เดือน กับ 3 เดือน ควรเลือกแบบไหน
ข้อแตกต่างระหว่างยาคุมแบบฉีดกับฝังยาคุม
การฉีดยาคุมกำเนิดมีข้อดีหรือข้อควรระวังอย่างไรบ้าง
หลังฉีดยาคุม มีวิธีการปฏิบัติตัวอย่างไร
บทความน่ารู้เพื่อคุณ
บทความสุขภาพ
ลูกค้าองค์กร
Med refer
MED REFER คืออะไร
Med refer เข้าสู่ระบบ
Med refer ตรวจสอบผลตรวจ
เพิ่มเติม
TH
MM
EN
รู้เรื่องการถอดยาคุม หลังถอดเข็มต้องปฏิบัติตัวอย่างไร
เป็นที่รู้กันดีอยู่แล้วว่ายาคุมแบบฝังนั้นมีประสิทธิภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์สูงมาก มีระยะเวลาในการป้องกันนาน 3-5 ปี เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่ต้องการมีบุตรในระยะเวลาอันใกล้ เช่น น้องๆ วัยใสที่ยังไม่มีความพร้อมในการตั้งครรภ์ หรือผู้ที่ต้องการเว้นระยะห่างในการมีบุตร ส่วนใครที่ได้รับการฝังยาคุมไปแล้ว และใกล้จะถึงกำหนดการถอดยาคุม หรือมีความต้องการถอดยาคุมออกก่อนกำหนด เรามีข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาฝากกันในบทความนี้
เราสามารถถอดยาคุมได้เมื่อใด
โดยทั่วไปจะสามารถถอดยาคุมเมื่อครบกำหนดตามระยะเวลาของชนิดยาคุมที่เลือกใช้ เช่น ครบกำหนด 3 ปี หรือ 5 ปี ซึ่งแพทย์ที่ทำการฝังยาคุมจะออกใบนัด ว่าต้องมาถอดยาคุมในวันไหน สำหรับคนที่ต้องการถอดยาคุมก่อนกำหนด เพื่อวางแผนการตั้งครรภ์ หรือเพราะมีสาเหตุจากผลข้างเคียงอื่น ก็สามารถถอดได้ตามความต้องการ ในสถานพยาบาลทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาล หรือคลินิกสูตินารี ซึ่งไม่จำเป็นต้องกลับไปถอดยาคุมกับแพทย์คนเดิมที่ทำการฝังยา
การถอดเข็มยาคุม มีขั้นตอนอย่างไร
การถอดเข็มยาคุม สามารถทำการผ่าตัดด้วยการใช้ยาชาฉีดบริเวณปลายของแท่งยาคุมกำเนิด รอจนยาชาออกฤทธิ์ จึงใช้มีดผ่าตัดกรีดแผลขนาดเล็กแล้วใช้เครื่องมือดึงเข็มยาคุมกำเนิดออกมา หลังจากนั้นซับเลือด ทำความสะอาดแล้วปิดปากแผล ตามด้วยพลาสเตอร์กันน้ำเป็นอันเรียบร้อย ยกเว้นหากแท่งยาคุมที่ต้องการถอดอยู่ลึก จนทำให้ต้องเปิดปากแผลกว้างขึ้น แพทย์จะทำการเย็บปิดปากแผลด้วยไหมขนาดเล็ก ประมาณ 1 เข็ม แล้วจึงทำความสะอาดแผล และปิดแผลด้วยพลาสเตอร์กันน้ำ
การปฏิบัติตัวหลังถอดยาคุม
แม้แผลผ่าตัดจะมีขนาดเล็กแต่ต้องสังเกตว่ามีเลือดซึมบริเวณปากแผลออกมามากผิดปกติหรือไม่ หากมีอาการผิดปกติควรรีบไปพบแพทย์ทันที
หากมีอาการปวดแผลผ่าตัด สามารถรับประทานแก้ปวดพาราเซตามอลได้ แต่ควรหลีกเลี่ยงยาแก้ปวดกลุ่มแอสไพริน
ทำการล้างแผลผ่าตัดทุกวัน เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ควรรับประทานยาฆ่าเชื้อให้ครบตามแพทย์สั่ง
หากมีอาการไข้ ปวด บวม หรือเกิดหนองที่บริเวณแผลผ่าตัด ควรรีบไปพบแพทย์ทันที
อย่าให้แผลผ่าตัดโดนน้ำเพราะอาจจะทำให้เกิดการติดเชื้อได้ หากต้องการอาบน้ำปากแผลต้องมีการปิดแผลด้วยฟิล์มใสกันน้ำ เพื่อหลีกเลี่ยงผลข้างเคียงจากการที่แผลโดนน้ำ
เนื่องจากก่อนการผ่าตัดแพทย์จะทำการฉีดยาชา จึงทำให้เกิดอาการชาบริเวณแผลผ่าตัด ซึ่งอาการเหล่านี้จะหายไปภายในเวลา 1-2 ชั่วโมง
พบแพทย์ตามนัดเพื่อตรวจดูความเรียบร้อยหรือตัดไหมสำหรับผู้ที่เย็บแผล
การปฏิบัติตัวหลังการถอดเข็มยาคุมนั้น เป็นเรื่องที่สามารถทำได้ง่าย เช่นเดียวกับการดูแลแผลทั่วไป เนื่องจากเป็นการเปิดปากแผลขนาดเล็กไม่ได้มีความยุ่งยากหรือซับซ้อนอะไรมาก มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนน้อย แต่เพื่อความไม่ประมาท ในช่วงแรกของการถอดยาคุม ควรหมั่นสังเกตว่าแผลมีความผิดปกติหรือไม่ เพราะหากเกิดปัญหาขึ้นจะได้แก้ไขอย่างทันท่วงที
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
Hot Line
081-562-7722 กดโทรออก
@qns9056c
อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรม
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
นโยบายความเป็นส่วนตัว
และ
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด