TH
MM
หน้าหลัก
บริการของเรา
ฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
แพทย์ประจำตัวโรคเบาหวานและความดัน
ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ใบรับรองแพทย์
ใบรับรองแพทย์ 5 โรค สมัครงาน,ทำใบขับขี่
ใบรับรองแพทย์ผู้สัมผัสอาหาร (10 โรค)
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างชาติ (Work Permit Program)
ตรวจสุขภาพใบรับรองแพทย์เพื่อศึกษาต่อ
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว (ตรวจสุขภาพต่างด้าว)
ตรวจนรีเวชสำหรับสุภาพสตรี
ฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิด
จี้หูด/ตัดติ่งเนื้อ/ฉีดคีลอยด์
ฉีดวัคซีน
วัคซีนเด็ก
วัคซีนผู้ใหญ่
วัคซีนพิษสุนัขบ้า
วัคซีนโรคบาดทะยัก
บริการฉีดวัคซีนที่บ้าน
ฉีดวัคซีนองค์กรหรือรายกลุ่ม
ตรวจภายในและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
หาหมอออนไลน์ Telemedicine
ตรวจหาภูมิคุ้มกันโควิด Covid-19
โปรแกรมตรวจสุขภาพ
โปรแกรมตรวจสุขภาพเบาหวาน
โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปีวัยเก๋า
โปรแกรมตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โปรแกรมตรวจเตรียมตัวก่อนบวช
โปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนทำศัลยกรรม
โปรแกรมตรวจสุขภาพไปต่างประเทศ
โปรโมชั่นและแพ็คเกจ
เกี่ยวกับเรา
คลินิกของเรา
เกี่ยวกับเรา
สาขาตลิ่งชัน
สาขาดินแดง
สาขาคลองสาน
สาขาเจริญกรุง
สาขาอุดมสุข
แพทย์ประจำสาขา
ประสบการณ์จากผู้รับบริการ
ข่าวสารและกิจกรรม
แผนที่คลินิก
ติดต่อเรา
คลินิกเวชกรรม
อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรมใกล้บ้านใกล้คุณ
วิธีการค้นหาคลินิกเวชกรรมใกล้บ้าน เมื่อเจ็บป่วยหรือไม่สบาย
ความรู้สุขภาพ
การตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
14 รายการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานที่บริษัทส่วนใหญ่เลือกใช้
8 แนวทางในการเลือกโปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานให้เหมาะสมกับองค์กร
7 เหตุผลที่ต้องตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ขั้นตอนการเข้ารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานกับอินทัชเมดิแคร์
การเตรียมตัวก่อนมารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
สิ่งที่ควรปฏิบัติหลังรับการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
การตรวจสุขภาพประจำปี
คำแนะนำก่อนตรวจสุขภาพประจำปี
การฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
การเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
การฝากครรภ์คุณภาพ
ความสำคัญของการฝากครรภ์
ฝากครรภ์แต่ละครั้งตรวจอะไรบ้าง
การดูแลสุขภาพมารดาช่วงตั้งครรภ์
วัคซีนที่จำเป็นในหญิงตั้งครรภ์
วิธีดูแลสุขภาพหลังคลอด
วิธีเลี้ยงลูกสำหรับคุณแม่มือใหม่
การฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ยาคุมแบบฝังและยาคุมแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร
12 ข้อดีของยาฝังคุมกำเนิด มีอะไรบ้าง
ข้อควรคำนึงก่อนฝังยาคุม
แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวหลังการฝังยาคุม
ถอดเข็มยาคุมแบบฝังต้องพิจารณาเรื่องอะไรบ้าง
หลังถอดเข็มต้องปฏิบัติตัวอย่างไร
ยาคุมกำเนิดแบบฝัง vs การทำหมัน แบบไหนป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดีกว่ากัน
ฉีดยาคุมกำเนิด
ข้อแตกต่างระหว่างฉีดยาคุมกับกินยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิดแบบ 1 เดือน กับ 3 เดือน ควรเลือกแบบไหน
ข้อแตกต่างระหว่างยาคุมแบบฉีดกับฝังยาคุม
การฉีดยาคุมกำเนิดมีข้อดีหรือข้อควรระวังอย่างไรบ้าง
วิธีการปฏิบัติตัวหลังการฉีดยาคุมกำเนิด
บทความน่ารู้เพื่อคุณ
บทความสุขภาพ
ลูกค้าองค์กร
Med refer
MED REFER คืออะไร
Med refer เข้าสู่ระบบ
Med refer ตรวจสอบผลตรวจ
เพิ่มเติม
หน้าหลัก
บริการของเรา
ฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
แพทย์ประจำตัวโรคเบาหวานและความดัน
ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ใบรับรองแพทย์
ใบรับรองแพทย์ 5 โรค สมัครงาน,ทำใบขับขี่
ใบรับรองแพทย์ผู้สัมผัสอาหาร (10 โรค)
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างชาติ (Work Permit Program)
ตรวจสุขภาพใบรับรองแพทย์เพื่อศึกษาต่อ
ตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว (ตรวจสุขภาพต่างด้าว)
ตรวจนรีเวชสำหรับสุภาพสตรี
ฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิด
จี้หูด/ตัดติ่งเนื้อ/ฉีดคีลอยด์
ฉีดวัคซีน
วัคซีนเด็ก
วัคซีนผู้ใหญ่
วัคซีนพิษสุนัขบ้า
วัคซีนโรคบาดทะยัก
บริการฉีดวัคซีนที่บ้าน
ฉีดวัคซีนองค์กรหรือรายกลุ่ม
ตรวจภายในและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
หาหมอออนไลน์ Telemedicine
ตรวจหาภูมิคุ้มกันโควิด Covid-19
โปรแกรมตรวจสุขภาพ
โปรแกรมตรวจสุขภาพเบาหวาน
โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปีวัยเก๋า
โปรแกรมตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โปรแกรมตรวจเตรียมตัวก่อนบวช
โปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนทำศัลยกรรม
โปรแกรมตรวจสุขภาพไปต่างประเทศ
โปรโมชั่นและแพ็คเกจ
เกี่ยวกับเรา
คลินิกของเรา
เกี่ยวกับเรา
สาขาตลิ่งชัน
สาขาดินแดง
สาขาคลองสาน
สาขาเจริญกรุง
สาขาอุดมสุข
แพทย์ประจำสาขา
ประสบการณ์จากผู้รับบริการ
ข่าวสารและกิจกรรม
แผนที่คลินิก
ติดต่อเรา
คลินิกเวชกรรม
อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรมใกล้บ้านใกล้คุณ
วิธีการค้นหาคลินิกเวชกรรมใกล้บ้าน เมื่อเจ็บป่วยหรือไม่สบาย
ความรู้สุขภาพ
การตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
14 รายการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานที่บริษัทส่วนใหญ่เลือกใช้
8 แนวทางในการเลือกโปรแกรมตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานให้เหมาะสมกับองค์กร
7 เหตุผลที่ต้องตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
ขั้นตอนการเข้ารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานกับอินทัชเมดิแคร์
การเตรียมตัวก่อนมารับบริการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
สิ่งที่ควรปฏิบัติหลังรับการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
การตรวจสุขภาพประจำปี
คำแนะนำก่อนตรวจสุขภาพประจำปี
การฝากครรภ์และตรวจหลังคลอด
การเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
การฝากครรภ์คุณภาพ
ความสำคัญของการฝากครรภ์
ฝากครรภ์แต่ละครั้งตรวจอะไรบ้าง
การดูแลสุขภาพมารดาช่วงตั้งครรภ์
วัคซีนที่จำเป็นในหญิงตั้งครรภ์
วิธีดูแลสุขภาพหลังคลอด
วิธีเลี้ยงลูกสำหรับคุณแม่มือใหม่
การฝังยาคุมและถอดยาคุมกำเนิด
ยาคุมแบบฝังและยาคุมแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร
12 ข้อดีของยาฝังคุมกำเนิด มีอะไรบ้าง
ข้อควรคำนึงก่อนฝังยาคุม
แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวหลังการฝังยาคุม
ถอดเข็มยาคุมแบบฝังต้องพิจารณาเรื่องอะไรบ้าง
หลังถอดเข็มต้องปฏิบัติตัวอย่างไร
ยาคุมกำเนิดแบบฝัง vs การทำหมัน แบบไหนป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดีกว่ากัน
ฉีดยาคุมกำเนิด
ข้อแตกต่างระหว่างฉีดยาคุมกับกินยาคุมกำเนิด
ฉีดยาคุมกำเนิดแบบ 1 เดือน กับ 3 เดือน ควรเลือกแบบไหน
ข้อแตกต่างระหว่างยาคุมแบบฉีดกับฝังยาคุม
การฉีดยาคุมกำเนิดมีข้อดีหรือข้อควรระวังอย่างไรบ้าง
วิธีการปฏิบัติตัวหลังการฉีดยาคุมกำเนิด
บทความน่ารู้เพื่อคุณ
บทความสุขภาพ
ลูกค้าองค์กร
Med refer
MED REFER คืออะไร
Med refer เข้าสู่ระบบ
Med refer ตรวจสอบผลตรวจ
เพิ่มเติม
TH
MM
ตรวจสุขภาพในสถานที่อับอากาศ อาชีพไหนต้องตรวจสุขภาพ
Last updated: 2022-05-19
|
742 จำนวนผู้เข้าชม
|
หนึ่งในตัวช่วยที่จะทำให้เกิดความปลอดภัยในการทำงานของผู้ปฏิบัติหน้าที่หน้างานก็คือการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน เพื่อหาความผิดปกติหรือความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายจากภาวะร่างกายที่ไม่สมบูรณ์หรือมีปัญหาด้านสุขภาพ โดยเฉพาะกับบางสาขา
อาชีพ
เช่น ผู้ที่ทำงานในสถานที่อับอากาศ , ผู้ที่ทำงานบนที่สูง เป็นต้น เรามาดูกันว่าเรามาดูกันว่า
ตรวจสุขภาพในสถานที่อับอากาศ อาชีพ
ไหนบ้าง
พื้นที่อับอากาศ (Confined Spaces) คือ บริเวณที่มีพื้นที่จำกัด คับแคบ การระบายอากาศทำได้ไม่ดี มีออกซิเจนน้อย มีสารเคมีอันตรายที่หากสูดดมเข้าไปในปริมาณที่มากอาจส่งผลต่อร่างกายหรือระบบประสาท เช่น ภาวะขาดออกซิเจน อากาศร้อนจนเป็นลม ปอดทำงานได้ไม่เต็มที่ มองเห็นได้ไม่ชัด หรือสูญเสียสมรรถภาพทางการได้ยิน เป็นต้น
การทำงานในสถานที่อับอากาศจำเป็นอย่างมากที่ต้องทำการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน เพื่อลดความเสี่ยงระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่แต่ละอย่างจะมีความสี่ยงที่แตกต่างกันออกไป นอกจากเครื่องแบบที่สามารถเซฟชีวิตเราได้แล้ว การเข้า
ตรวจสุขภาพในสถานที่อับอากาศ
ก็จำเป็นอย่างมากเช่นเดียวกัน อินทัชเมดิแคร์ คลินิกเวชกรรรม พร้อมดูแลการตรวจสุขภาพก่อนเขาทำงานให้คุณ (ข้อมูลเพิ่มเติม
ตรวจสุขภาพอับอากาศคืออะไร
และ
รายการตรวจสุขภาพในสถานที่อับอากาศ
)
ความเสี่ยงของอาชีพที่ทำงานในสถานที่อับอากาศค่อนข้างสูง
พื้นที่อับอากาศเป็นสถานที่ที่มีอากาศน้อย ไม่เหมาะกับการอยู่อาศัยหรือทำงาน แต่บางครั้งก็ต้องใช้คนงานทำงานซ่อมแซมตามจุดพื้นที่ต่างๆ ในพื้นที่นั้นบ้าง ซึ่งผู้ที่ทำงานด้านนี้จะมีเครื่องมือเฉพาะทางมาช่วยเหลือ อากาศที่ถ่ายเท่ไม่สะดวกทำให้ร่างกายต้องรับผลกระทบค่อนข้างหนัก การจะเข้ามาทำงานด้านนี้จึงเป็นเรื่องยากพอสมควร
นอกจาการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอแล้ว การตรวจสุขภาพก่อนและหลังทำงานนั้นจำเป็นกับ
อาชีพ
เหล่านี้อย่างมาก ยกตัวอย่าง เช่น ช่างก่อสร้าง/ซ่อมอุโมงค์, ช่างก่อสร้าง/ซ่อมคอนโด, ช่างก่อสร้าง/ซ่อมถังน้ำมัน, ช่างก่อสร้าง/ซ่อมห้องใต้ดิน, นักสำรวจถ้ำ, ช่างขุดบ่อน้ำลึก/น้ำบาดาล, ช่างก่อสร้าง/ซ่อมท่อประปาหรือท่อก๊าซขนาดใหญ่ และช่างก่อสร้าง/ซ่อมเตาเผาหรือเตาไอน้ำ
การตรวจสุขภาพในสถานที่อับอากาศ อาชีพ ที่ควรตรวจมีดังนี้
ช่างก่อสร้าง/ซ่อมอุโมงค์
ช่างก่อสร้าง/ซ่อมโซโล
ช่างก่อสร้าง/ซ่อมถังน้ำมัน
ช่างก่อสร้าง/ซ่อมห้องใต้ดิน
นักสำรวจถ้ำ
ช่างขุดบ่อน้ำลึก/น้ำบาดาล
ช่างก่อสร้าง/ซ่อมท่อประปาหรือท่อก๊าซขนาดใหญ่
ช่างก่อสร้าง/ซ่อมเตาเผาหรือเตาไอน้ำ
1. ช่างก่อสร้าง/ซ่อมอุโมงค์
ช่างก่อสร้าง ช่างซ่อมอุโมงค์มักทำงานในสถานที่อับอากาศที่ได้รับความเสี่ยงสูงเป็นประจำ ทั้งอุบัติเหตุด้านบุคคลซึ่งมีความรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต ถึงแม้ว่าจะมีชุดการเซฟตี้ของตัวเองดีมากขนาดไหน แต่อุบัติเหตุก็สามารถเกิดขึ้นได้เสมอ ไม่ว่าจะเป็นความเสี่ยงในเรื่องของการระเบิดของแก๊สภายในอุโมงค์ น้ำท่วม หรือไฟไหม้ในอุโมงค์ คนงานส่วนมากมักเจอกับแก๊สพิษ และฝุ่นพิษเกือบตลอด ซึ่งเป็นอัตรายอย่างมาก ช่างก่อสร้าง/ซ่อมอุโมงค์ จึงจำเป็นที่จะต้องเข้ารับการตรวจ สุขภาพในสถานที่อับอากาศอยู่ตลอดทั้งปีเพื่อตรวจเช็คค่าพิษในเลือด เพื่อให้มั่นใจได้ว่าสุขภาพร่างกายยังคงสมบูรณ์ แข็งแรง มีความพร้อมที่จะทำงานต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ช่างก่อสร้าง/ซ่อมโซโล
ช่างก่อสร้างมีความเสี่ยงที่ค่อนข้างสูงในหน้างานอยู่แล้ว ต่อให้จะมีประสบการณ์ในการทำงานสูงขนาดไหนก็ตาม แต่ก็มีแนวโน้มที่จะเกิดอันตรายได้อยู่ดี พื้นที่ทำงานบางสถานที่มีความอับอากาศมาก หน้างานทำงานไม่สะดวก อากาศไม่ถ่ายเท การผสมปูน กลิ่นสี หรือน้ำมันเคลือบที่มีกลิ่นฉุน สามารถทำให้ร่างกายรับสารพิษเข้ามา จำเป็นที่จะต้องเข้าตรวจร่างกายอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้พร้อมกับการทำงาน ลดความเสี่ยงระหว่างการทำงานทั้งกับตัวเของเราเอง และเพื่อนร่วมงานด้วย
3. ช่างก่อสร้าง/ซ่อมถังน้ำมัน
ช่างซ่อมบำรุงถังน้ำมันเป็นหน้าที่ค่อนข้างเสี่ยงอยู่แล้ว สามารถเกิดโอกาสที่จะได้รับสารพิษมากมายที่รั่วออกมาจากถังน้ำมัน ไม่ว่าจะเป็นสารละลาย สารแปลกปลอมระหว่างการซ่อมแซม จึงมีความจำเป็นที่ต้องเข้ารับการตรวจสุขภาพร่างกายเป็นประจำ เพื่อตรวจหาสารพิษตกค้างในร่างกาย
4. ช่างก่อสร้าง/ซ่อมห้องใต้ดิน
ถึงแม้ว่าช่างซ่อมห้องใต้ดินในบ้านเราไม่ค่อยเยอะมากเท่าไร เนื่องจากบ้านเราไม่ค่อยเกิดแผ่นดินไหว แต่เป็นงานที่เสี่ยงมาก อากาศที่ถ่ายเทไม่ดีบวกกับห้องที่ค่อนข้าชื้น ทำให้ถ่ายเท่อากาศค่อนข้างยาก งานที่ต้องเจาะผนังก็เสี่ยงที่จะเจอฝุ่นอยู่ตลอด แถมยังมีโอกาสทำงานกับสภาพแวดล้อมที่มีเชื้อราค่อนข้างสูง เรียกว่าเป็นสภาพอากาศที่ไม่เหมาะสำหรับคนทำงานเลยก็ว่าได้ การตรวจสุขภาพการทำงานในพื้นที่อับอากาศจึงเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างมาก
5. นักสำรวจถ้ำ
อากาศที่มีอัตราคาร์บอนไดออกไซด์สูงถือว่าอันตรายที่สุด และถ้ำก็เป็นหนึ่งในนั้น ตั้งแต่มูลค้างคาวที่ทับถมกันส่งกลิ่นฉุน จนถึงกระบวนการย่อยสลายของสัตว์และพืชที่อยู่ในถ้ำ ทำให้ร่างกายรตกอยู่ในสภาวะที่ไม่ปกติ นอกจากร่างกายที่แข็งแรงและการสวมใส่ชุดที่ป้องกันอุบัติเหตุ หรือต่อให้มีประสบการ์ณสำรวจถ้ำชำนาญมากขนาดไหนก็ตาม ก็มีความเสี่ยงมากที่อาจจะเกิดอุบัติเหตุทางร่างกาย หรือได้รับสารพิษเข้าได้โดยที่ไม่รู้ตัว ส่วนใหญ่สารพิษเหล่านี้จะมาในรูปแบบของการสะสม เพราะฉะนั้นแล้ว การเข้ามาตรวจร่างกายและรับคำแนะนำจากหมอเป็นประจำจะช่วยลดการเกิดสภาวะที่เป็นอัตรายต่อร่างกายได้เป็นอย่างดี
6. ช่างขุดบ่อน้ำลึก/น้ำบาดาล
ช่างขุดบ่อน้ำลึกเป็นหนึ่งใน
อาชีพ
ที่มีความเสี่ยงสูง เนื่องจากความลึกของสถานที่ปฏิบัติงานที่อากาศไม่สามารถเข้าถึงได้ อากาศถ่ายเทไม่สะดวก จึงอาจทำให้เสียชีวิตระหว่างการทำงานได้ นอกจากนี้ เครื่องจักรส่วนใหญ่ที่ทำงานอย่างต่อเนื่องก็สามารถเกิดอุบัติเหตุเครื่องจักรระเบิดได้อีกด้วย เหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นอย่างไม่คาดหมายอาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ดังนั้น การลดความเสี่ยงด้วยการตรวจสุขภาพ เช็คความพร้อมของร่างกายให้เหมาะสมสำหรับการทำงาน วิธีนี้จะช่วยให้เราทำงานได้อย่างปลอดภัยมากขึ้น
7. ช่างก่อสร้าง/ซ่อมท่อประปาหรือท่อก๊าซขนาดใหญ่
นอกจากถ้ำที่มีก๊าสจากธรรมชาติ ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่สูงอยู่แล้ว ท่อประปาหรือท่อก๊าซขนาดใหญ่ก็มีแก๊สสูงและอันตรายมากเช่นกัน มีโอกาสที่ร่างกายจะได้รับสารพิษเข้ามาโดยที่ไม่รู้ตัว เนื่องจากเป็นสถานที่ถ่ายเทอากาศที่ไม่ดีเท่าไร ร่างกายอาจเกิดภาวะขาดอากาศระหว่างการทำงานได้ การเช็คสุขภาพและการตรวจร่างกายอย่างต่อเนื่องถือเป็นวิธีลดความเสี่ยงระหว่างหน้างานได้อย่างดี
8. ช่างก่อสร้าง/ซ่อมเตาเผาหรือเตาไอน้ำ
งานในพื้นที่อับอากาศอีกงานหนึ่งที่มีความเสี่ยงค่อนข้างสูงก็คือ ช่างก่อสร้าง/ซ่อมเตาเผาหรือเตาไอน้ำนั่นเอง ถึงแม้ว่าตัวเตาจะมีโครงสร้างที่ค่อนข้างแข็งแรง แต่เรื่องการระบายอากาศนั้นแย่มาก มีโอกาสค่อนข้างสูงที่ร่างกายจะเกิดภาวะการขาดอากาศระหว่างปฏิบัติงาน ที่น่ากลัวกว่านั้น ถ้าร่างกายอยู่ในช่วงที่ไม่พร้อมทำงานก็จะยิ่งมีความเสี่ยงมากขึ้นไปด้วย เพราะฉะนั้นแล้วควรที่จะเข้ามาตรวจสุขภาพร่างกายอยู่เป็นประจำ เพื่อเช็คความพร้อมในการทำงาน และลดความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายขึ้นไปในตัว
(ข้อมูลเพิ่มเติม
ตรวจสุขภาพการทำงานในสถานที่อับอากาศคืออะไร
หรือ
รายการตรวจสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานในสถานที่อับอากาศ
)
อาชีพ
ข้างต้น เต็มไปด้วยความเสี่ยงทางการปฏิบัติในสถานที่อับอากาศ และ จากตัวผู้ทำงานในสถานที่อับอากาศเอง หากร่างกายไม่พร้อมอาจจะเกิดอันตรายต่อตนเองและเพื่อนร่วมงานได้ การ
ตรวจสุขภาพในสถานที่อับอากาศ อาชีพ
ที่ควรตรวจมีหลายตำแหน่งงานซึ่งบริษัทควรให้การดูแลเป็นพิเศษ สำหรับท่านที่สนใจบริการนี้สามารถใช้บริการหรือขอคำปรึกษาได้จากอินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรมทุกสาขาใกล้บ้าน โดยค้นหาจากคลินิกใกล้ฉันใน Google หรือสอบถามโดยตรงจากช่องทางการติดต่อที่ให้ไว้บนหน้าเว็บไซต์ของเรา
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
Hot Line
081-562-7722 กดโทรออก
@qns9056c
อินทัชเมดิแคร์คลินิกเวชกรรม
CHK-CONFINE
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
10 อันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศ
2022-05-06
บริการตรวจโรคติดต่อ STD เช็คเพื่อชัวร์
2022-03-25
ลูกค้าของเรา
2022-05-03
การดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน
2022-03-22